-
-
คณะกรรมการบริหาร
-
ระเบียบข้อบังคับและวิสัยทัศน์
-
ภาพการประชุมในอดีต
-
กิจกรรมสมาคมฯ
-
หลักสูตรที่สมาคมจัดในแต่ละเดือน
-
......................
-
หลักสูตรที่บริการอบรม
-
หลักสูตรฝึกอบรมที่กฏหมายกำหนด
-
.................................
-
วัฒนธรรมความปลอดภัย
-
KYT การฝึกการหยั่งรู้ระวังอันตราย
-
BBS การปลูกฝังพฤติกรรมความปลอดภัย
-
JSA เทคนิคการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
-
ฮิยาริ Hiyari hatto
-
ประเมินความเสี่ยง
-
โครงการการอนุรักการได้ยิน
-
............................................
-
SAFETY ในการทำงาน
-
SAFETY เครื่องจักร
-
SAFETY ไฟฟ้า
-
SAFETY งานก่อสร้าง
-
SAFETY ที่อับอากาศ
-
SAFETY ทำงานบนที่สูง
-
SAFETY รถยก
-
SAFETY การยกของ
-
SAFETY อัคคีภัย
-
SAFETY สารเคมีอันตราย
-
SAFETY PPE
-
safety เครื่องเจียร์
-
SAFETY เด็ก
-
SAFETY โรงเรียน
-
คู่มือความปลอดภัย
-
...........................................
-
อุบัติเหตุในการทำงาน
-
อุบัติเหตุจากเครื่องจักร
-
อุบัติเหตุทางรถยนต์
-
อุบัติเหตุงานอับอากาศ
-
อุบัติเหตุจากของมีคม
-
อุบัติเหตุของตกจากที่สูง
-
อุบัติเหตุจากไฟฟ้า
-
อุบัติเหตุสารเคมีอันตราย
-
อุบัติเหตุงานก่อสร้าง
-
อุบัติเหตุรถยกโฟลคลิฟท์
-
คลิปอุบัติเหตุการทำงาน
-
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย
-
สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย
-
โรคจากการประกอบอาชีพ
-
ข่าวอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรม
-
ข่าวอุบัติเหตุในจังหวัดสมุทรปราการ
-
................................
-
Safety ภาษาต่างด้าว
-
Safety Partrol
-
คปอ
-
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
-
งาน จป
-
ตัวอย่างกิจกรรมดีดีด้านความปลอดภัย
-
COVID-19
-
บทความ ปรัชญา คติสอนใจ
-
ทักษะหัวหน้างาน
-
ก้าวสู่การเป็นผู้นำที่ดี อย่างที่ทุกองค์กรต้องการ
-
ทักษะการเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี
-
ทักษะในการติดต่อสื่อสาร
-
ทักษะที่ต้องเตรียมพร้อม สำหรับการเป็นผู้นำที่ดี
-
Leadership ภาวะผู้นําคืออะไร [ความสำคัญ ประโยชน์ และตัวอย่าง]
-
5 ทักษะที่ต้องเตรียมพร้อมสำหรับการเป็นผู้นำ
-
6 สิ่งที่ผู้นำที่ดีควรมีนอกเหนือจากทักษะการทำงาน
-
10 คุณสมบัติสำคัญของผู้นำ
-
-
-
สมัครรับข่าวสาร
-
ประสาทหูเสื่อมจากการทำงาน
สวัสดีครับ
ประสาทหูเสื่อมจากการทำงาน
ใครที่ต้องสัมผัสกับเสียงดังจากสภาพแวดล้อมในการทำงานเป็นระยะเวลานานติดต่อกัน มักมีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคประสาทหูเสื่อมได้ค่อนข้างสูง เป็นโรคที่พบบ่อยในผู้ที่ต้องทำงานสัมผัสกับเสียงดัง ได้แก่ งานอุตาหกรรมโลหะ งานตัดไม้ เลื่อยไม้ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมยางและพลาสติก คนที่ทำงานในสถานบันเทิง อาชีพขับรถรับจ้าง ฯลฯ

ผู้ที่มีภาวะประสาทหูเสื่อมจะมีปัญหาเรื่องการได้ยินที่ลดลงมักจะมีความผิดปกติของหูทั้ง 2 ข้างมากกว่าข้างเดียว โดยอาการที่พบบ่อยคือ ฟังคนอื่นพูดไม่ชัดหรือไม่เข้าใจ นอกจากปัญหาการได้ยินแล้วบางครั้งยังได้ยินเสียงในหู เช่น เสียงหึ่งๆ หรือเสียงกระดิ่ง ซึ่งจะเกิดขึ้นเป็นพักๆ หรือเป็นตลอดเวลาก็ได้ และอาการจะเป็นมากขึ้นเมื่อต้องสัมผัสกับเสียงดังมากๆการที่ได้ยินเสียงผิดปกติในหู อาจทำให้รู้สึกรำคาญ นอนไม่ค่อยหลับ และไม่มีสมาธิในการทำงาน

ซึ่งอาการผิดปกติต่างๆ เหล่านี้เกิดจากการเสียหายของเซลล์ที่อยู่ในหูชั้นในซึ่งเป็นเซลล์ที่ทำหน้าที่ส่งสัญญาณเสียงต่อไปให้เส้นใยประสาทเพื่อส่งต่อไปยังสมองให้แปลความหมายของเสียงที่เราได้ยินเพื่อให้เข้าใจความหมายของคำพูดต่างๆ เมื่อเซลล์เหล่านี้ได้รับเสียงที่ดังมากๆ เป็นระยะเวลานาน จะค่อยๆ หลุดร่วงหรือตายไป ซึ่งมักจะใช้เวลานานเป็นปีกว่าอาการประสาทหูเสื่อมจะแสดงออก จึงทำให้คนทั่วไปไม่ค่อยให้ความใส่ใจนักในเรื่องการได้ยินที่เริ่มลดลงเนื่องจากไม่ค่อยได้สังเกตอาการผิดปกติของตัวเองที่เกิดขึ้น
ดังนั้นใครที่ต้องทำงานในสภาพแวดล้อมที่มีมลภาวะเสียงควรใส่อุปกรณ์ป้องกัน เช่น ที่อุดหู ที่สวมครอบหู และควรตรวจความสามารถทางการได้ยินอย่างน้อยปีละครั้งเพื่อชะลอและป้องกันโรคประสาทหูเสื่อมที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต

ที่มาของข้อมูล จาก
Pantip
ข้อมูลดีดี จาก
โรงพยาบาลระยอง